รูป ลง Ig

mylocalsydney.com

จริยธรรม ของ นัก บัญชี

2 ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีต้องไม่ยินยอมให้ผู้อื่นอ้างชื่อว่าตนเป็นผู้ปฏิบัติหรือ ควบคุมงานให้บริการทางวิชาชีพบัญชีโดยที่ตนเองมิได้เป็นผู้ปฏิบัติหรือควบ คุมงานให้บริการอย่างแท้จริง 5. 3 ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีต้องไม่ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการบริการของตนเกินความเป็นจริง ไม่โอ้อวด หรือเปรียบเทียบตนเองหรือสำนักงานที่ตนเองสังกัดอยู่กับผู้ประกอบวิชาชีพ บัญชีอื่น หรือสำนักงานที่ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีอื่นสังกัดอยู่ 6. ความโปร่งใส (Transparency) 6. 1 หลักการพื้นฐาน ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีพึงปฏิบัติงานด้วยความโปร่งใส โดยไม่ปิดบังซ่อนเร้น บิดเบือน หรือเห็นแก่ประโยชน์ส่วนตน มีการกำกับดูแลที่ดีและสามารถตรวจสอบได้ 6. 2 ข้อกำหนด 6. 1 ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีต้องปฏิบัติงานด้วยความโปร่งใส ตรวจสอบได้ 6. 2 ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีต้องให้บุคคลที่เกี่ยวข้อง และได้รับผลกระทบจากการปฏิบัติ วิชาชีพบัญชีสามารถ เข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่เกี่ยวข้องได้อย่างเพียงพอ สะดวก ตามที่จำเป็นและเหมาะสมแก่กรณี 7. ความเป็นอิสระ (Independence) 7. 1 หลักการพื้นฐาน ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีพึงปฏิบัติงานด้วยความเป็นอิสระภายใต้กรอบวิชาชีพบัญชี เพื่อให้ผลงานของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีเชื่อถือได้ 7.

คุณธรรม จริยธรรม: บทความที่ 2 คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี

wave rider 23 รีวิว

ความรู้ทางการบัญชีและการบริหาร: จรรยาบรรณของนักบัญชี

จรรยาบรรณวิชาชีพบัญชี - เส้นทางอาชีพนักบัญชี

ตัวอย่างการประพฤติผิดจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี | สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สำนักงานใหญ่)

สหพันธ์นักบัญชีระหว่างประเทศ

เป็นผู้มี กัลยาณมิตตธรรม คือ ผู้มีคุณธรรมของมิตรที่ดี 7 ประการ คือ 2. 1 เป็นผู้น่ารัก (ปิโย) คือ เป็นผู้มีจิตใจประกอบด้วยเมตตากรุณาพรหมวิหาร 2. 2 เป็นผู้น้าเคารพ (ครุ) คือ เป็นผู้ที่สามารถเอาเป็นที่พึ่งอาศัย เป็นที่พึ่งทางใจ 2. 3 เป็นผู้น่านับถือ น่าเจริญใจ (ภาวนีโย) ว่าด้วย เป็นผู้ได้ฝึกฝนอบรมตนมาดีแล้ว ควรแก่การยอมรับและยกย่องนับถือ เอาเป็นเยี่ยงอย่างได้ 2. 4 เป็นผู้รู้จักพูดจาโดยมีเหตุผลและหลักการ (วัตตา) รู้จักชี้แจง แนะนำ ให้ผู้อื่นเข้าใจดี แจ่มแจ้ง เป็นที่ปรึกษาที่ดี 2. 5 เป็นผู้อดทนต่อถ้อยคำที่ล่วงเกิน วิพากษ์ วิจารณ์ ซักถาม หรือขอปรึกษาหารี ขอให้คำแนะนำต่างๆ ได้ (วจนักขโม) 2. 6 สามารถแถลงชี้แจงเรื่องที่ลึกซึ้ง หรือเรื่องยุ่งยากซับซ้อนให้เข้าใจอย่างถูกต้อง และตรงประเด็นได้ (คัมภีรัญจะ กะถัง กัตตา) 2. 7 ไม่ชักนำในอฐานะ (โน จัฏฐาเน นิโยชะเย) คือไม่ชักจูงไปในทางเสื่อม (อบายมุข) หรือไปในทางที่เหลวไหล ไร้สาระ หรือที่เป็นโทษ เป็นความทุกข์เดือดร้อน จริยธรรมสำหรับนักบริหาร 1. เป็นผู้มีหลักธรรมในการครองงานที่ดีด้วยคุณธรรม คือ อิทธิบาทธรรม ได้แก่ 1. 1 ฉันทะ ความรักงาน คือ จะต้องเป็นผู้รักงานที่ตนมีหน้าที่รับผิดชอบอยู่ และทั้งจะต้องเอาใจใส่กระตือรือร้นในการเรียนรู้งาน และเพิ่มพูนวิชาความรู้ความสามารถในการทำกิจการงาน และมุ่งมั่นที่จะทำงานในหน้าที่รับผิดชอบหรือกิจการงานอาชีพของตนให้สำเร็จเรียบร้อยอยู่เสมอ 2.

คุณธรรมจริยธรรมสำหรับนักบริหาร - GotoKnow

จริยธรรมของนักบัญชีบริหาร
  • Nekopara vol 1 ไทย
  • Cu i house ราคา game
  • รู้หรือไม่ “กฎหมายเช่าซื้อรถยนต์” ฉบับล่าสุด มีประโยชน์กับผู้ซื้ออย่างไร มาดูกัน
  • จริยธรรมของนักบัญชีบริหาร
  • จริยธรรมของนักบัญชี | BSA
  • ภาพ พื้น หลัง ครู
  • ที่ ปั๊ม ส้วม โลตัส
  • โปรแกรม บอล true blood saison
  • จรรยาบรรณวิชาชีพ นักบัญชี | myAccount Cloud

จริยธรรมของนักบัญชีไทย ซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา ( Integrity) เที่ยงธรรม อิสระ โปร่งไส ( Objectivity) กำความลับ รักษาความลับ ไม่หาผลประโยชน์จากสิ่งที่รู้ ( Confidentiality) มีคุณภาพ รอบรู้ เชี่ยวชาญ งานมีมาตรฐาน ( Professional Competence and Due Care) ประพฤติดีในวิชาชีพ ไม่ทำเสื่อมเสีย ทำตามกฎหมาย ( Professional Behavior) รับผิดชอบต่อผู้รับบริการ ผู้ถือหุ้น เพื่อนร่วมงาน เพื่อนร่วมวิชาชีพ

1 หลักการพื้นฐาน ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีไม่พึงเปิดเผยข้อมูลที่เป็นความลับของกิจการที่ตนได้มาจากการให้บริการทางวิชาชีพ 4. 2 ข้อกำหนด 4. 1 ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีต้องไม่เปิดเผยข้อมูลที่เป็นความลับของกิจการ ซึ่งตนได้มา ในระหว่างการปฏิบัติงานโดยไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ว่าจ้าง เว้นแต่กรณีที่ต้องให้ถ้อยคำในฐานะพยานตามกฎหมาย เป็นหน้าที่หรือความรับผิดชอบตามกฎหมาย หรือโดยสิทธิในทางวิชาชีพ หรือโดยหน้าที่ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีหรือมาตรฐานของวิชาชีพที่จะต้องเปิด เผย 4. 1 ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีต้องไม่นำความลับของกิจการที่ตนได้มาระหว่างที่ปฏิบัติงาน ไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตนหรือบุคคลที่สาม 5. การปฏิบัติตนเยี่ยงผู้ประกอบวิชาชีพ (Professional Behavior) 5. 1 หลักการพื้นฐาน ผู้ ประกอบวิชาชีพบัญชีพึงประพฤติปฏิบัติตนในทางที่ถูกที่ควร สำนึกในหน้าที่ และพึงปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบเพื่อรักษาชื่อเสียงแห่งวิชาชีพ และงดเว้นการกระทำที่จะนำมาสู่การเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ 5. 2 ข้อกำหนด 5. 1 ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีต้องประพฤติปฏิบัติตนในทางที่ถูกที่ควร สำนึกในหน้าที่ และไม่ปฏิบัติตนในลักษณะที่ทำให้เกิดความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แก่วิชาชีพ 5.

พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ. ศ. 2547 พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ. 2547 ได้บัญญัติไว้ในหมวด 7 จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี โดยมีสาระสำคัญดังนี้ มาตรา 46 ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีหรือผู้ซึ่งขึ้นทะเบียนไว้กับสภาวิชาชีพบัญชีมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี และต้องปฏิบัติหน้าที่ของตน ตามมาตรฐานบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี หรือมาตรฐานอื่นใดที่เกี่ยวข้องที่กำหนดตามพระราชบัญญัตินี้ บุคคลตามวรรคหนึ่ง ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณหรือมาตรฐานที่กำหนดตามพระราชบัญญัตินี้ให้ถือว่าผู้นั้นประพฤติผิดจรรยาบรรณ มาตรา 47 ให้สภาวิชาชีพจัดทำจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีขึ้นเป็นภาษาไทยและอย่างน้อยต้องประกอบด้วยข้อกำหนดในเรื่องดังต่อไปนี้ 1. ความโปร่งใส ความเป็นอิสระ ความเที่ยงธรรมและความซื่อสัตย์สุจริต 2. ความรู้ความสามารถและมาตรฐานในการปฏิบัติงาน 3. ความรับผิดชอบต่อผู้รับบริการและการรักษาความลับ 4. ความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น ผู้เป็นหุ้นส่วน หรือบุคคลหรือนิติบุคคลที่ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีปฏิบัติหน้าที่ให้ มาตรา 49 โทษการประพฤติผิดจรรยาบรรณ มีดังต่อไปนี้ 1. ตักเตือนเป็นหนังสือ 2. ภาคทัณฑ์ 3.

พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ. ศ. 2547 พระราชบัญญัติวิชาชีพบัญชี พ. 2547 ได้บัญญัติไว้ในหมวด 7 จรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี โดยมีสาระสำคัญดังนี้ มาตรา 46 ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีหรือผู้ซึ่งขึ้นทะเบียนไว้กับสภาวิชาชีพบัญชีมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี และต้องปฏิบัติหน้าที่ของตน ตามมาตรฐานบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี หรือมาตรฐานอื่นใดที่เกี่ยวข้องที่กำหนดตามพระราชบัญญัตินี้ บุคคลตามวรรคหนึ่ง ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามจรรยาบรรณหรือมาตรฐานที่กำหนดตามพระราชบัญญัตินี้ให้ถือว่าผู้นั้นประพฤติผิดจรรยาบรรณ มาตรา 47 ให้สภาวิชาชีพจัดทำจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีขึ้นเป็นภาษาไทยและอย่างน้อยต้องประกอบด้วยข้อกำหนดในเรื่องดังต่อไปนี้ 1. ความโปร่งใส ความเป็นอิสระ ความเที่ยงธรรมและความซื่อสัตย์สุจริต 2. ความรู้ความสามารถและมาตรฐานในการปฏิบัติงาน 3. ความรับผิดชอบต่อผู้รับบริการและการรักษาความลับ 4. ความรับผิดชอบต่อผู้ถือหุ้น ผู้เป็นหุ้นส่วน หรือบุคคลหรือนิติบุคคลที่ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชีปฏิบัติหน้าที่ให้ มาตรา 49 โทษการประพฤติผิดจรรยาบรรณ มีดังต่อไปนี้ 1. ตักเตือนเป็นหนังสือ 2. ภาคทัณฑ์ 3.

  1. โซฟา ไม้ มะค่า ราคา มือสอง